ผลงานสร้างสรรค์ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน

Department of Interior Design

int-01

4 DNA คู่มือและเครื่องมือตรวจสอบความคิดและการค้นหาความคิดอย่างเป็นเอกภาพ

4 DNA : Tool and Manual for Searching and Recheck “Thinking” with Unity

ผศ.เอกพงษ์ ตรีตรง
Asst. Prof. Akekapong Treetrong

เครื่องมือ 4 DNA เป็นส่วนสำคัญต่อการรวบรวมทั้งปัจจัยลบและปัจจัยบวก เพื่อลดความเสี่ยงในการลงทุนให้มากที่สุด นักออกแบบและผู้ลงทุนสามารถนำเครื่องมือ 4 DNA ไปใช้ สามารถบ่มเพาะหาตัวแปรหลัก เพื่อนำไปใช้ออกแบบและ พัฒนาโครงการร่วมกันอย่างครอบคลุมทุกมิติ ซึ่งสามารถส่งเสริมผลงานออกแบบให้มีคุณภาพและเกิดอัตลักษณ์เฉพาะตัว โดยไม่คิดลอกเลียนแบบ ผลงานอื่น แต่เกิดจากการสำรวจจากปัจจัยรอบด้านของโครงการ ตลอดจนการนำไปใช้รอบทิศด้วย

int-02

 

โลหะทำปฏิกิริยากับออกซิเจน จะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา

Oxidine

ศาสตราจารย์เอกชาติ จันอุไรรัตน์ 
Prof. Eakachart Joneurairatanai

การออกแบบตราสัญลักษณ์ 808 EST.

LOGO 808 EST.

ไพบูลย์ จิรประเสริฐกุล
Paiboon Jiraprasertkun

int-03

 

int-04

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: การศึกษารูปแบบที่เหมาะสมของบ้านพักรับรองและภูมิทัศน์ในอุทยานแห่งชาติ เพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวไทย

Conservation of Natural Resources and Environment: Interior Environmental Design for Guest Houses in National Park for the Standard of Tourism Thailand

รองศาสตราจารย์ ร.ต.อ. ดร.อนุชา แพ่งเกษร
Assoc. Prof. Pol. Capt. Anucha Pangkesorn (Ph.D.)

ผู้วิจัยรับข้อมูลจากผู้รับบริการ(VOC) ด้าน 7 P’s (Product, Price, Place, Promotion, People, Process, Physical evidence) โดยการวิเคราะห์ SWOT ศึกษาทฤษฏีการออกแบบ และการอนุรักษ์ทรัพยากรในอุทยาน

แรงกระเพื่อม

Ripple

อาจารย์ณัฐรฐนนท์ ทองสุทธิพีรภาส
Nathrathanon Thongsuthipheerapas

นักออกแบบแห่งปีเปรียบเสมือน “แรงกระเพื่อม” ให้กับวงการนักออกแบบไทยได้มีพลังในการผลิตผลงานออกแบบสร้างสรรค์ที่ยอดเยี่ยมสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้

int-05

int-06

งานสร้างสรรค์ตามงานวิจัย กกทอ 2014

Creative works : follow by Sedge weaving’s creative research 2014.

ผศ.ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ
Asst.Prof.Chainarong Ariyaprasert.

ข้าพเจ้าเสนอ “ภาพลักษณ์ใหม่” ของกกทอด้วยการนำมาใช้กับเครื่องเรือนในชีวิตประจำวันให้เกิดความโก้เก๋ จากลวดลายและสีสันที่ได้จากทักษะการย้อม มัด และทอ ในโครงการวิจัยสร้างสรรค์กกทอ ของคณะวิจัยที่ผ่านมา โดยให้สอดรับกับวิถีชีวิตปัจจุบันที่ต้องการความเรียบง่ายแต่เต็มไปด้วยเอกลักษณ์เฉพาะอันโดดเด่น เป็นแรงบันดาลใจและส่งเสริมการใช้ในชีวิตประจำวันให้มากขึ้นตามข้อสรุปของนิทรรศการ

การส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กรด้วยการออกแบบตกแต่งภายใน

Using Interior Design to Enhance Cooperate Identity

ดร. นุชนภางค์ แก้วนิล
Nuchnapang Keonil, Ph.D.

การออกแบบด้วยวิธีผสมผสานองค์ประกอบทางศิลปะกับศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ

int-07

int-08

พื้นที่ทับซ้อน ความเป็นส่วนตัว ความเป็นสาธารณะในที่พักนักเดินทางแบกเป้

Intersectional Space, Privacy, Public in Backpackers Hostel

ธัชวิทย์ สีบุญเรือง
Tajchavit Sibunruang

กลุ่มนักท่องเที่ยวแบกเป้ หรือ backpacker เป็นกลุ่มที่มีลักษณะที่แตกต่างจากนัก
ท่องเที่ยวทั่วไปอย่างชัดเจนทั้งการแต่งกาย การกิน การเดินทาง รวมไปถึงอุปกรณ์
ที่ใช้ในการเดินทาง

โครงการออกแบบตกแต่งภายใน ชั้นล่างอาคาร 36 ปี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

Learning Space

กศิตินทร ชุมวรานนท
Kasitin Chumwaranond

“ฟ้าศิลปากร” เมฆ ธรรมชาติในท้องฟ้าที่ให้จินตนาการไม่รู้จบ คล้ายดั่งความรู้ทางศิลป์อักษรที่สร้างโอกาสกว้างไกลให้นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร

int-09

int-10

ศิลป์ พีระศรี ในสยาม

SILP PHIRSRI IN SIAM

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พยูร โมสิกรัตน์
Asst. Prof. Payoon Mosikarat

ระลึ กถึงผู้ก่อกำเนิดสถาบัน ในวันเกิดของท่าน

 

หนทางอันบริสุทธ์

ศมประสงค์ ชาวนาไร่
Somprasong Chaonarai

int-11

 

int-12

ศิลปะบนกล่องไฟ

Light Box Art

สัญญา สุขพูล
Sunya Soookpool

นำภาพถ่ายที่ได้เห็นตามสถานที่ต่างๆมาทำเป็นงานศิลปะบนกล่องไฟ

 

ช้อนขวัญ

Improvement

พัฒนา เจริญสุข
Patana Charoensook

“เจ็บ” จากชุดแรงบันดาลใจในเรื่อง “เกิด แก่ เจ็บ ตาย” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาแนวคิดในพิธีกรรมจากภูมิปัญญาพื้นบ้านอีสาน “ช้อนขวัญ” สู่การออกแบบโคมไฟแขวนเพดานที่รวมศิลปะเข้ากับวิทยาศาสตร์ ที่เรียกรวมกันว่า ศิลปวิทยา (The Arts and Sciences) มาสู่การออกแบบผลงาน โดยนำ สวิง วัสดุอุปกรณ์จับสัตว์น้ำพื้นบ้านอีสานมาประกอบกับเทคนิคทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับภาพลวงตา (Illusion) เกิดผลลัพธ์ของการรับรู้ที่แตกต่างกันจาก ตำแหน่ง (Location) องศา (Degree) มุมมอง (View Point) และเวลา (Time)

int-13

int-14

วิหารโพธิสุวรรณ

Bodhisuwanna Vihara

สมบัติ วงศ์อัศวนฤมล
Sombat Wongatsawanaruemon

วิหารโพธิสุวรรณ ณ ธรรมสถานบ้านโพธิ์ทอง ต.จรเข้สามพัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ประดิษฐานพระไตรโลกนาถศรีโพธิ์ทอง พระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อสำริดขนาดหน้าตัก 2.77 เมตร ขนาดวิหารกว้าง 9 เมตร ลึก 12 เมตร สูง 9.90 เมตร สร้างแล้วเสร็จ ปีพุทธศักราช 2556

 

ลายประดับฐานชุกชีพระพุทธสัพพัญญุตญาณศิริโพธิสุวรรณ ณ วิหารโพธิสุวรรณ

Design pattern at Bodhisuwanna Vihara

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เทิดศักดิ์ เหล็กดี
Asst. Prof. Terdsak Lakedee

ออกแบบลายประดับฐานชุกชีพระพุทธสัพพัญญุตญาณศิริโพธิสุวรรณ ณ วิหารโพธิสุวรรณ

int-15